บันทึกอนุทินครั้งที่6
วิชาการจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน
วันพุธ ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ 2558 เวลาเรียน 08.30 - 12.20 น.
รวมภาพผลงานของเพื่อนๆ
วันนี้อาจาร์ยมีกิจกรรมให้เล่นก่อนเรียนสนุกมากๆๆเป็นอะไรที่คาดไม่ถึง เพื่อนๆในห้องดูมีความสุขกันมากๆเลยคะ วันนี้อาจาร์ยสอนเรื่อง การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
ทักษะทางสังคม
- เด็กพิเศษที่ขาดทักษะทางสังคม
ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการพ่อแม่
- การอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีไม่ได้เป็นเครื่องรับประกันว่าเด็กจะมีพัฒนาการต่างๆอย่างมีความสุข
กิจกรรมการเล่น
- การเล่นเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ทักษะทางสังคม
- เด็กจะสนใจกันเองโดยอาศัยการเล่นเป็นสื่อ
- ในช่วงแรกๆ
เด็กจะไม่มองเด็กคนอื่นเป็นเพื่อน แต่เป็นอะไรบางอย่างที่น่าสำรวจ สัมผัส ผลัก ดึง
ยุทธศาสตร์การสอน
- เด็กพิเศษหลายๆคนไม่รู้วิธีเล่น ไม่รู้ว่าจะเล่นอย่างไร
- ครูเริ่มต้นจากการสังเกตเด็กแต่ละคนอย่างเป็นระบบ
- จะบอกได้ว่าเด็กมีทักษะการเล่นแบบใดบ้าง
- ครูจดบันทึก
- ทำแผน IEP
การกระตุ้นการเลียนแบบและการเอาอย่าง
- วางแผนกิจกรรมการเล่นไว้หลายๆอย่าง
- คำนึงถึงเด็กทุกๆคน
- ให้เด็กเล่นเป็นกลุ่มเล็กๆ 2-4 คน
- เด็กปกติทำหน้าที่เหมือน “ครู” ให้เด็กพิเศษ
ยุทธศาสตร์การสอน
- เด็กพิเศษหลายๆคนไม่รู้วิธีเล่น ไม่รู้ว่าจะเล่นอย่างไร
- ครูเริ่มต้นจากการสังเกตเด็กแต่ละคนอย่างเป็นระบบ
- จะบอกได้ว่าเด็กมีทักษะการเล่นแบบใดบ้าง
- ครูจดบันทึก
- ทำแผน IEP
การกระตุ้นการเลียนแบบและการเอาอย่าง
- วางแผนกิจกรรมการเล่นไว้หลายๆอย่าง
- คำนึงถึงเด็กทุกๆคน
- ให้เด็กเล่นเป็นกลุ่มเล็กๆ 2-4 คน
- เด็กปกติทำหน้าที่เหมือน “ครู” ให้เด็กพิเศษ
ครูปฏิบัติอย่างไรขณะเด็กเล่น
- อยู่ใกล้ๆ และเฝ้ามองอย่างสนใจ
- ยิ้มและพยักหน้าให้ ถ้าเด็กหันมาหาครู
- ไม่ชมเชยหรือสนใจเด็กมากเกินไป
- เอาวัสดุอุปกรณ์มาเพิ่ม เพื่อยืดเวลาการเล่น
- ให้ความคิดเห็นที่เป็นแรงเสริม
การให้แรงเสริมทางสังคมในบริบทที่เด็กเล่น
- ครูพูดชักชวนให้เด็กร่วมเล่นกับเพื่อน
- ทำโดย “การพูดนำของครู”
ช่วยเด็กทุกคนให้รู้กฎเกณฑ์
- ไม่ง่ายสำหรับเด็กพิเศษ
- การให้โอกาสเด็ก
- เด็กพิเศษต้องเรียนรู้สิทธิต่างๆเหมือนเพื่อนในห้อง
- ครูต้องไม่ใช้ความบกพร่องของเด็กพิเศษเป็นเครื่องต่อรอง
จากนั้นอาจาร์ยให้จับคู่กับเพื่อนและให้ทำกิจกรรมในห้องโดยกำหนดให้คนหนึ่งเป็นเส้น อีกคนเป็นจุดให้คนที่เป็นเส้นรากเส้นไปเรื่อยตามเสียงเพลงที่ได้ยินโดยมีข้อแม้ว่าต้องให้เส้นผ่านเป็นวงกลมด้วยอีกคนเป็นจุดให้ระบายสีที่เพื่อนเขียนเป็นวงกลม จากนั้นให้วาดภาพจากที่เราเห็นให้เป็นรูปออกมา
วัสดุอุปกรณ์
- อยู่ใกล้ๆ และเฝ้ามองอย่างสนใจ
- ยิ้มและพยักหน้าให้ ถ้าเด็กหันมาหาครู
- ไม่ชมเชยหรือสนใจเด็กมากเกินไป
- เอาวัสดุอุปกรณ์มาเพิ่ม เพื่อยืดเวลาการเล่น
- ให้ความคิดเห็นที่เป็นแรงเสริม
การให้แรงเสริมทางสังคมในบริบทที่เด็กเล่น
- ครูพูดชักชวนให้เด็กร่วมเล่นกับเพื่อน
- ทำโดย “การพูดนำของครู”
ช่วยเด็กทุกคนให้รู้กฎเกณฑ์
- ไม่ง่ายสำหรับเด็กพิเศษ
- การให้โอกาสเด็ก
- เด็กพิเศษต้องเรียนรู้สิทธิต่างๆเหมือนเพื่อนในห้อง
- ครูต้องไม่ใช้ความบกพร่องของเด็กพิเศษเป็นเครื่องต่อรอง
จากนั้นอาจาร์ยให้จับคู่กับเพื่อนและให้ทำกิจกรรมในห้องโดยกำหนดให้คนหนึ่งเป็นเส้น อีกคนเป็นจุดให้คนที่เป็นเส้นรากเส้นไปเรื่อยตามเสียงเพลงที่ได้ยินโดยมีข้อแม้ว่าต้องให้เส้นผ่านเป็นวงกลมด้วยอีกคนเป็นจุดให้ระบายสีที่เพื่อนเขียนเป็นวงกลม จากนั้นให้วาดภาพจากที่เราเห็นให้เป็นรูปออกมา
วัสดุอุปกรณ์
ถ้ามองแนวตั้งจะเห็นว่าสนุกนั่งน้ำลายหกอยู่
ถ้ามองแนวนอนจะเห็นสนักทั้งตัว
รวมภาพผลงานของเพื่อนๆ
ประเมินตนอง
วันนี้ตั้งใจทำกิจกรรมพอสมควร เพราะวันนี้ไม่ค่อยสะบาย แต่ก็ยังมาเรียนนะคะ อ. เบีร์ย
ประเมินเพื่อน
วันนี้เพื่อนๆทุกสนุกกันใหญ่เลยเพราะกิจกรรมที่อาจาร์ยนำมา เพื่อนๆน่าจะชอบนะคะ
ประเมินอาจาร์ย
วันนี้อาจาร์ยสอนสนุก มีการนำ Power Point มาสอน และมีกิจกรรมให้ทำจากเรียนเสร็จ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น